ClubJZ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มคนที่ใช้งานเครื่องยนต์ JZ ทุกรุ่น เพื่อที่จะใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ต่างๆ ระหว่างกันโดยไม่ได้หวังผลตอบแทนใดๆ เราหวังว่า คงจะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่กำลังหาข้อมูล และผู้ที่มีปัญหาในการ ใช้งาน เครื่อง JZ ไม่มากก็น้อย แต่สิ่งสำคัญที่สุด ที่ทุกๆคนจะได้จาก ClubJZ นี้นั่นคือ มิตรภาพที่เรามีให้กับทุกๆท่านครับ.
|
ประชาสัมพันธ์ ClubJZ! |
1. Login สีส้ม และสีฟ้าไม่อนุญาติให้มีลายเซ็นตั้งแต่วันที่ 07/09/09 เป็นต้นไป 2. ขอเชิญ ผู้ใช้งาน ที่ Login เป็นสีส้ม มาแนะนำตัว ( ชื่อ,รถ,เครื่องยนต์ และเบอร์ติดต่อ) เพื่อเปลี่ยนมาเป็น ClubJZ Member ที่นี่ ครับ 3. User ที่สมัครใหม่ รอ Activate ผ่าน Email ทีกรอกมาด้วยนะครับ User นั้นถึงจะใช้งานได้ ครับ |
ClubJZ ! Talk พูดคุย ถาม-ตอบ ปัญหาต่างๆของเครื่องยนต์ JZ! ครับ |
![]() |
|
คำสั่งเพิ่มเติม | เรียบเรียงคำตอบ |
|
![]() |
#1 |
ClubJZ Web Register
วันที่สมัคร: Feb 2022
Car Brand: toyota
Engine Type: 1800
ที่อยู่: nontaburi
กระทู้: 14
Thanks: 0
Thanked 0 Times in 0 Posts
คะแนน: 0
![]() |
Copayment คืออะไร ทำไมต้องจ่ายร่วม
นี่คือคำถามที่สร้างความสงสัยให้ใครหลายคนทันที โดยเฉพาะคนที่กำลังจะตัดสินใจทำประกันสุขภาพ หลังจากรู้ว่าสมาคมประกันชีวิตไทยได้กำหนดหลักเกณฑ์ ส่วนจ่ายร่วม หรือ Copayment ในปีต่อ เป็นเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันสุขภาพฉบับใหม่ที่เริ่ม คุ้มครองตั้งแต่ 20 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป
เงื่อนไข Copayment 3 กรณีที่ต้องรู้ เราทุกคนต่างรู้กันดีว่า ความเจ็บป่วยและอุบัติเหตุเป็นเรื่องที่ไม่อาจคาดเดา ได้ การมีประกันสุขภาพที่คุ้มครองครอบคลุมจึงช่วยกระจายค วามเสี่ยงเรื่องค่ารักษาพยาบาลไม่ให้เราต้องแบกรับค่ าใช้จ่ายเอง แต่ปัญหาที่ผ่านมา คนส่วนใหญ่มักเลือกแอดมิท (Admit) หรือนอนค้างคืนที่โรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยในจากอาเจ็บป่ วยเล็ก ๆ น้อย ๆ ส่งผลให้อัตราการเคลมค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นเกินกว่ าความเป็นจริง กรณี 1 : การเคลมค่ารักษาผู้ป่วยใน (IPD) จากการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Simple Diseases) หากเข้าเงื่อนไขทั้ง 3 ข้อนี้จะต้องร่วมจ่าย 30% ทุกค่ารักษาพยาบาลในปีกรมธรรม์ถัดไป จำนวนการเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง/ปีกรมธรรม์ อัตราเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 200% ของเบี้ยประกันสุขภาพ อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย หมายถึง อาการที่ไม่จำเป็นต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล อาการไม่รุนแรง เพราะเป็นอาการเจ็บป่วยที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีว ิตประจำวัน รักษาง่ายและหายได้เองรักษาได้ด้วยยาสามัญประจำบ้าน หรือสามารถฟื้นตัวจากอาการป่วยได้เองด้วยภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย ไม่มีอาการภาวะแทรกซ้อน กรณี 2 : การเคลมค่ารักษาผู้ป่วย (IPD) จากการเจ็บป่วยโรคทั่วไป (ไม่รวมโรคร้ายแรงและการผ่าตัดใหญ่) หากเข้าเงื่อนไขทั้ง 3 ข้อนี้จะต้องร่วมจ่าย 30% ทุกค่ารักษาพยาบาลในปีกรมธรรม์ถัดไป จำนวนการเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง/ปีกรมธรรม์ อัตราเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 400% ของเบี้ยประกันสุขภาพ การเคลมค่ารักษาพยาบาลอาการเจ็บป่วยโรคทั่วไป หมายถึง โรคใด ๆ ที่ไม่ใช่การผ่าตัดใหญ่ โรคร้ายแรง และไม่ใช่อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Simple Diseases) ให้นับรวมเป็นการเจ็บป่วยทั่วไปทั้งหมด ![]() กรณี 3 : เข้าเงื่อนไขทั้งกรณี 1 และกรณี 2 จะต้องร่วมจ่าย 50% ทุกค่ารักษาพยาบาลในปีกรมธรรม์ถัดไป ถึงตรงนี้ หลายคนอาจสงสัยเพิ่มอีกว่า ถ้าหากเข้าเงื่อนไข Copayment แล้ว จะมีผลตลอดไปในทุกปีกรมธรรม์หรือไม่ ? คำตอบคือ Copayment ไม่ใช่การจ่ายร่วมตั้งแต่บาทแรกและไม่ใช่เงื่อนไขถาว ร จะขึ้นอยู่กับการเคลมค่ารักษาพยาบาลของผู้ถือกรมธรรม ์ประกันสุขภาพ โดยบริษัทประกันจะพิจารณาใหม่ในทุก ๆ รอบปีกรมธรรม์ หากปีกรมธรรม์ใดไม่เข้าเงื่อนไข Copayment ทุกกรณี ผู้ถือกรมธรรม์ประกันสุขภาพก็ไม่ต้องจ่ายร่วมในปีกรม ธรรม์ถัดไปนั่นเอง จ่ายร่วมแต่มั่นคงระยะยาว ขอย้ำอีกที หากเข้าใจเงื่อนไข Copayment อย่างครบถ้วน ก็ไม่มีอะไรน่ากลัวหรือน่ากังวล ถึงแม้ว่าจะเป็นหลักเกณฑ์ใหม่ที่ทำให้ผู้ถือกรมธรรม์ ประกันสุขภาพต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลบางส่วน แต่ไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคนทันที เพราะขึ้นอยู่กับการเคลมที่ต้องเข้าเงื่อนไขเท่านั้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ทุกคนสามารถบริหารจัดการได้ เพื่อไม่ให้การเคลมค่ารักษาพยาบาลเข้าเงื่อนไข Copayment หลักเกณฑ์ ส่วนจ่ายร่วม หรือ Copayment นี้ ยังช่วยสร้างระบบประกันสุขภาพที่มั่นคง ซึ่งส่งผลดีกับทุกคนในระยะยาวทั้ง สร้างความตระหนักรู้ในการใช้บริการด้านการแพทย์ เพราะ Copayment ทำให้ผู้ถือกรมธรรม์ประกันสุขภาพจะคิดไตร่ตรองมากขึ้ นว่าอาการเจ็บป่วยที่กำลังเป็นอยู่นั้นรุนแรงมากพอที ่จะต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่ และใช้บริการด้านการแพทย์ตามความจำเป็น พร้อมกับหันมาใส่ใจและดูแลสุขภาพตัวเองให้แข็งแรงอยู ่เสมอมากขึ้น รวมถึง สร้างความยั่งยืนให้ระบบประกันสุขภาพ เพราะหนึ่งในปัญหาที่ทำให้คนจำนวนมากยกเลิกการต่อสัญ ญากรมธรรม์ประกันสุขภาพ คือ จ่ายเบี้ยประกันต่อไปไม่ไหว Copayment จึงช่วยลดความเสี่ยงและแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้ เพราะในเมื่อบริษัทประกันไม่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายที่สูงเกินจำเป็น ก็จะสามารถกำหนดเบี้ยประกันสุขภาพให้อยู่ในระดับที่ส มเหตุสมผล เพิ่มโอกาสให้ทุกคนเข้าถึงประกันสุขภาพได้มากขึ้นด้ว ย ท้ายที่สุดแล้ว สิ่งสำคัญของเรื่องนี้ คือ การทำความเข้าใจเงื่อนไขต่าง ๆ อย่างละเอียด และเลือกแผนประกันสุขภาพที่เหมาะสมกับความต้องการและ ความสามารถในการชำระเบี้ยประกัน เพราะจะทำให้ได้รับความคุ้มครองและผลประโยชน์จากประก ันสุขภาพที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตของตนเอง อ้างอิง สมาคมประกันชีวิตไทย. (มกราคม 2568). รู้ทันอย่างไม่ตระหนกกับ ส่วนจ่ายร่วม (Copayment) ในเงื่อนไขการต่ออายุกรณีครบรอบปีกรมธรรม์ประกันภัย . วารสารประกันชีวิต, 013/2568, 2-13. |
![]() |
![]() |
![]() |
|
|